บทความล่าสุด

VMware vCenter Server คืออะไร ติดตั้งยังไง?

VMware vCenter Server

How to install vCenter on ESXi

ผู้ดูแลระบบ หลายๆ ท่านอาจยังไม่ได้มีโอกาสลง vCenter Server กันสักเท่าไหร่ อาจด้วยเรื่องพื้นที่ เรื่องสิทธิการเข้าถึง หรือ สาเหตุอื่นๆ และในบทความนี้จะแสดงภาพตั้งแต่ตั้นจนจบว่า vCenter ลงกันยังไง ลงยากไหม และมันคืออะไร ใช้ทำอะไรบ้าง

VMware vCenter คือ เครื่องมือที่ใช้สำหรับรวบรวม Host (เครื่อง Server ที่ลง VMware ESXi นั่นเอง) ซึ่งก็เพื่อให้ Host ต่างๆ ที่มีตั้งแต่หลัก 1-พัน เครื่องมารวมอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ทำให้ผู้ดูแลระบบสามารถบริหารจัดการได้ภายในหน้าเดียว ไม่ว่าจะเป็นการตั้งค่า VM,  Network, Datastore, VMwrae Intergration หรือ การ Clone, Migrate, Snapshot, Cluster กันล่ม HA availability ก็สามารถทำได้จากที่นี่ทั้งหมด ซึ่งทั้งหมดนั้นก็จะทำให้ผู้ดูแลระบบนั้นสามารถบริหารจัดการได้ง่ายขึ้น 99% 

สิ่งที่ต้องใช้ในบทความนี้
  1. ไฟล์ VMware-VMvisor-Installer-7.0U2.iso
  2. ไฟล์ VMware-VCSA-all-7.0.2.iso
  3. การ Download ตัว Try นั้นจะต้องสมัครสมาชิก และ Register ก่อนถึงจะสามารถ Download ได้
หมายเหตุ: ผู้ที่จะทดสอบ จะต้องติดตั้ง VMware-VMvisor-Installer-7.0U2.iso แล้ว


ขั้นตอนการติดตั้ง 

จากภาพที่ 1
ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

จากภาพที่ 2 
  • เลือก Download VMware vCenter Server
  • กด Manually Download
ภาพที่ 3

จากภาพที่ 3
  • ไป Path ที่ Download 
  • คลิกขวาที่ .iso
  • เลือก Mount
ภาพที่ 4

จากภาพที่ 4 
  • ไปที่ DVD Drive \vcsa-ui-installer\win32\installer.exe
  • คลิกขวาเลือก Run as administrator
ภาพที่ 5

จากภาพที่ 5
  • คลิก Install
ภาพที่ 6

จากภาพที่ 6
  • Stage 1 กด Next
ภาพที่ 7

จากภาพที่ 7
  • เลือก I accept 
  • กด Next
ภาพที่ 8

จากภาพที่ 8
  • เลือก Embedded Platform Services Controller
  • กด Next
ภาพที่ 9

จากภาพที่ 9
  • ขั้นแรกให้ใส่ IP ของเครื่อง ESXi Host ที่เราจะสั่ง vCenter ขึ้นไปเก็บเป็นไฟล์ VM ไว้
  • ESXi host ใส่ IP เครื่อง Server
  • HTTPS Port ใส่ 443
  • User name ใส่ ของ ESXi host 
  • Password ใส่ของ ESXi host
  • กด Next
ภาพที่ 10

จากภาพที่ 10
  • กด Yes
ภาพที่ 11

จากภาพที่ 11
  • ตั้งชื่อ vCenter เป็นชื่อที่จะแสดงบน ESXi Host
  • user default คือ root
  • ตั้ง password ของ root
  • กด Next
ภาพที่ 12

จากภาพที่ 12
  • ปรับขนาดของ vCenter ตามจำนวน VM ที่เราจะสร้าง
  • กด Next
ภาพที่ 13

จากภาพที่ 13
  • เลือก datastore ที่จะเก็บไฟล์ VM-vCenter ของเรา
  • ในที่นี้ใช้ Nimble Storage 
  • datastore1 เป็นของ ESXi Host ซึ่งก็คือ 2 Drive ที่ทำ RAID1
  • กด Next
ภาพที่ 14

จากภาพที่ 14
  • Network: ในที่นี้ใช้ VLAN200
  • IP versoin : IPv4
  • IP assignment: static
  • FQDN: ใส่ IP หรือ DNS Name ของ vCenter (แนะนำให้ใส่ ไม่งั้นบางทีลงเสร็จจะเข้าไม่ได้)
  • IP Address: ใส่ IP ของ vCenter (เราตั้งขึ้นมาใหม่)
  • Subnet: ใส่ /24 (255.255.255.0) หรือ ตาม Network ของเรา
  • Gateway: ใส่ของ Network เรา
  • DNS: ใส่ของ Network เรา
  • กด Next
ภาพที่ 15

จากภาพที่ 15
  • Stage 1 เสร็จเรียบร้อย
  • กด FINISH
ภาพที่ 16

จากภาพที่ 16
  • รอสักพักครับ
ภาพที่ 17

จากภาพที่ 17
  • ขณะนี้ Stage 1 เสร็จแล้วเราสามารถเข้าที่ https://10.77.20.252:5480 เพื่อดูสถานะต่างๆ ของ VM-vCenter ที่เราลงด้วย vCenter Server Appliance โดยหน้านี้จะเป็นหน้า Monitor หรือ สั่ง Restart, Shutdown และสามารถปรับแต่งได้แค่บางอย่างเท่านั้น เรียกว่าเป็นหลังบ้านของ vCenter ครับ
  • ต่อไป ให้ไป Stage2 จะเป็นการตั้งค่าให้สามารถบริหารจัดการได้

ภาพที่ 18

จากภาพที่ 18
  • กด Next
ภาพที่ 19

จากภาพที่ 19
  • กด Next
ภาพที่ 20

จากภาพที่ 20
  • เลือก Creage a new SSO domain
  • Single Sign-On domain name: กรณีถ้าเราไม่มี Domain ก็ใส่เป็น vsphere.local
  • Password: แนะนำตั้งให้แตกต่างจาก ESXi Host
  • กด Next
ภาพที่ 21

จากภาพที่ 21
  • เอาติ๊กถูกออก
  • กด Next
ภาพที่ 22

จากภาพที่ 22
  • Host name ที่วงไว้ เพราะบาง Application ที่จะมา integrate กับ vCenter ของเราอาจเรียกหา Host name ซึ่งจริงๆ ก็สามารถดูได้ที่หน้า VM-vCenter เช่นกันจะโชว์บนหน้าจอดำๆ เลย
  • กด FINISH
ภาพที่ 23

จากภาพที่ 23
  • กด OK
ภาพที่ 24

จากภาพที่ 24
  • รอสักพักครับ
ภาพที่ 25

จากภาพที่ 25
  • กด Close
  • ลิงค์ที่ Stage 2 ให้มานั้น https://photon-machine:443 จะไม่สามารถเข้าได้ ถ้าเราไม่ได้ตั้งที่ DNS Server ให้ Add IP 10.77.20.252 ก่อนครับ ฉนั้นให้เข้าผ่าน IP แทน
ภาพที่ 26

จากภาพที่ 26
  • เข้า IP ของท่าน
  • กด Advanced
  • กด Proceed to IP ของท่าน
ภาพที่ 27

จากภาพที่ 27
  • กด LAUNCH HTML5
  • Flash Player ไม่มีทางใช้งานได้แล้วครับ
ภาพที่ 28

จากภาพที่ 28
  • Login ด้วย ชื่อตาม ภาพที่ 20 ได้เลยครับ
ภาพที่ 29

จากภาพที่ 29
  • ถ้าสำเร็จเมื่อ Login จะได้หน้าจอนี้เลยครับ
  • สำหรับบทความต่อไปคือการ Add Host เข้ามาใน vCenter




ขอบคุณครับ



ไม่มีความคิดเห็น